โรคกระเพาะอาหารและสำไส้อักเสบ
image
โรคกระเพาะอาหารและสำไส้อักเสบ
คนส่วนใหญ่ที่ไปรับการรักษากับแพทย์แผนปัจจุบันสุดท้าย จะจบที่โรคมะเร็งกันทั้งนั้นเพราะส่วนใหญ่ผู้ป่วยโรคมะเร็งตับ จะเริ่มต้นจากการไม่สบายจาก โรคกระเพาะอาหารและโรคลำไส้มาก่อนทั้งนั้น แต่สุดท้ายจะมาลงเอยที่โรคมะเร็ง เพราะว่าแพทย์แผนปัจจุบันรักษาโรคนี้กันไม่เป็น
#โรคกระเพาะอาหารและสำไส้เดิมที่นั้นมันเกิดจากภาวะเย็นเกิน พอเกิดจากภาวะเย็นเกินเมื่อร่างกายเย็นมากๆ เส้นเลือดจะหดตัว พอเส้นเลือดหดตัวเลือดลมก็จะเกิดการไหลเวียนไปลำบาก น้ำย่อยไหลไปลำบากจึงไม่สามารถย่อยอาหารที่กินเข้าไปได้อาหารก็เลยไม่ย่อย เพราะน้ำย่อยหลังออกมาลำบาก เลือดลมไหลเวียนไม่สะดวกทำให้กระเพาะไม่มีกำลังและไม่มีเลือดไปเลี้ยงพออาหารไม่ย่อยก็มีเชื้อโรคเข้ามากิน ทำให้เกิดกรด และแก๊สในกระเพาะขึ้น 

#โดยธรรมชาติการหมักก็จะทำให้เกิดแก๊ส พอเกิดแก๊สขึ้นก็ทำให้ท้องอืด เกิดเป็นกรดขึ้นก็ไปกัดกระเพาะอาหารให้เป็นแผลและอักเสบ หากเป็นหมอแผนโบราณก็จะให้กินกล้วยดิบเข้าไปรักษาแผล และให้ขมิ้นชัน ขิง หรือยาร้อนเข้าไปเพื่อให้เกิดการขับลมออกและเพื่อให้เลือดลมไหลเวียนได้ดีขึ้นและคนไข้ก็จะหาย เพราะเมื่อใดที่เลือดลมไหลเวียนดี ก็จะไม่เกิดโรคทุกอย่างก็กลับมาทำงานตามปรกติหมด แต่ในยุคปัจจุบันนี้เกิดจาก สภาวะร้อนเกินเป็นส่วนใหญ่ 

#เมื่อเกิดจากสภาวะร้อนเกิน เป็นส่วนใหญ่ ร่างกายร้อนมากๆ ร่างกายก็จะระบายพลังงานความร้อนนั้นๆ ไปที่กระเพาะอาหารและลำไส้ เพื่อที่จะมีการระบายออกต่อ ตามเส้นกลางตัว ทางทวาร หรืออาจจะออกทางปาก ทางหัว ร่วมด้วยก็แล้วแต่โดยจะเห็น ได้จากการที่คนไข้บางรายเป็นแผลในปากซึ่งนี้ก็คือการระบายความร้อนออกจากร่างกาย

#แต่ก่อนที่ร่างกายจะระบายก็จะออกไปร่วมกันที่กระเพาะก่อนจะกระจายออกตามที่ต่างๆ แต่หากความร้อนไปกองกันมากๆ  และไม่สามารถระบายได้ทัน ความร้อนก็จะเผากระเพาะอาหารและสำไส้ของเรานั้นให้เปื่อยพุพอง เหมือนกับไฟไหม้น้ำร้อนลวกหากมีการส่องกล้องเข้าไปดูก็ จะเห็นเป็นแผลแดง เปื่อย พุพอง 

#เมื่อกระเพาะเกิดการบาดเจ็บก็ไม่สามารถทำงานได้ตามปรกติเมื่อกินอาหารเข้าไปอาหาร ก็ไม่สามารถย่อยได้ อาหารก็ค้างอยู่อย่างนั้น พออาหารค้างอยู่เชื้อโรคก็เข้าไปกินอาหารนั้น ทำให้เกิดแก๊ส เกิดกรดขึ้นมาอีก ทำลายกระเพาะและลำไส้เข้าไป อีก แผลที่มีอยู่แล้วมีการบาดเจ็บเพิ่มเข้าไปอีกคนที่มีกรด เยอะมาก ๆ กรดก็จะไปร่วมกันที่กระเพาะ  เพื่อที่จะระบายต่อไปยังสำไส้ใหญ่แต่เมื่อกรดมีเยอะมาก ๆ ระบายไม่ทันก็ทำให้เกิดกรดไหลย้อนขึ้นมา ทำให้เกิดอาการจุกเสียด 

#การรักษาของแพทย์แผนปัจจุบันก็จะรักษาโดยให้กินยาเคลือบกระเพาะเอาไว้เคลือบเอาความร้อนเอาไว้ เคลือบกรดเอาไว้ เคลือบของเสียเอาไว้ กินยาไปเคลือบเอาไว้เรื่อยๆ  ทำให้กระเพาะเกิดการเน่าหมักหมม ความร้อนก็ยังอยู่และเคลื่อนไปทำลายตับเท่านั้นเอง เพราะความร้อนไม่สามารถระบา ยออกได้ต่อไปก็จะเกิดเป็นมะเร็งกระเพาะ หรือมะเร็งตับ หรือมะเร็วลำไส้เท่านั้นเอง


#การรักษาของหมอแพทย์วิถีพุทธ หรือหมอทางเลือก เมื่อรู้ถึงสาเหตุว่าเกิดจากความร้อนเราก็ใส่เย็นลดร้อน และให้กินกล้วยดิบเพื่อที่จะให้กล้วยนั้นไปสมานแผลและกล้วยดิบก็ มีฤทธิ์เย็น หรือให้กินน้ำต้นกล้วยก็ได้ วิธีการกินก็คือนำกล้วยดิบมาตัดเป็น 3 ท่อน เพื่อที่จะแบ่งกินเป็น 3 เวลา ก่อนอาหาร เคี้ยวๆ ให้ละเอียดที่สุดแล้วก็กลืน เข้าไปได้เลยจะทำวิธีใดก็ได้ให้ละเอียดที่สุดแล้วก็กลืนเข้าไปเลย 

#หากกลืนได้ยากก็ให้กินร่วม กับน้ำย่านางเข้าไปเพื่อให้ กลืนได้ง่ายขึ้น หากสามารถกินได้ทั้งเปลือกได้ก็จะดีจะสามารถรักษาได้เร็วมาก ดีกว่ายาน้ำขาวทั่วไปมากนัก  แต่ในกรณีที่ร้อนตีกลับเป็น เย็นคือ คนไข้มีอาการท้องอืดและหัวตื้อร่วมดัวย แต่ความเป็นจริงแล้วอาการท้องอืดหัวตื้นนี้เป็นอาหารเย็นเกิน เพราะอาการร้อนเกินจะตีกลับเป็นเย็น 

#เพราะแพทย์แผนจีนกล่าวไว้ว่า เมื่อหยางที่สุดจะตีกลับเป็นหยิน  และเมื่อหยินที่สุดจะตีกลับ เป็นหยางเพราะฉะนั้น อาการท้องอืด หัวตัวก็คือร้อนสุดได้ตีกลับเป็นเย็นเมื่อเรากินเย็นอย่างเดียวก็ไม่สามารถรักษาได้เราก็ควรใช้ความร้อนร่วมด้วย

#ในการรักษาได้การกินเย็นผ่านไฟโดยการกดน้ำร้อนผสมกับน้ำสมุนไพรฤทธิ์เย็น แต่หากินแบบนี้แล้วยังมีอาการเย็นแทรกอยู่ก็ให้เราใส่สมุนไพร ฤทธิ์ร้อนเข้าไปเล็กน้อยเช่น ใส่ ขมิ้น ตะไคร้ หรือขิง เข้าไปในปริมาณที่เรารู้สึก สบาย ใส่แค่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ก็น่าจะเพียงพอแล้ว ก็จะทำให้รู้สึกสบายขึ้นได้ แต่ในสมัยก่อนการรักษาจะเน้นที่สมุนไพรฤทธิ์ร้อนในการรักษาจึงทำให้การรักษาในปัจจุบันไม่ได้ผล

ดร.ใจเพชร กล้าจน(หมอเขียว)
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์วิถีธรรม
วิชชาธิการบดี สถาบันวิชชาราม
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้